การวิเคราะห์การใช้คาร์บอนคาร์บอนฟุตปรินท์ในชั้นเรียนด้วยชั้นเรียนสีเขียว ภาณุพงศ์

1* นะราแก้ว

และ ธนบดี

No.185

2 ศรีธนนันท์

1

สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ 2 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ *[email protected], 08-5351-6556

บทคัดย่อ ในปัจจุบันภาวะโลกร้อนถือเป็นภาวะที่มีความสาคัญอย่างมาก ที่จะส่งผล กระทบอย่ า งร้ า ยแรงและจะยิ่ งเพิ่มขึ้ นเรื่อ ยๆ ซึ่ งภาวะโลกร้ อนนั้นสามารถ เกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ โดยหนึ่งในสาเหตุนั้น คือ การที่พื้นที่ป่าของโลกถูก ท าลายลงเรื่ อ ยๆไม่ สิ้ น สุ ด อี ก ทั้ ง กระบวนการทางอุ ต สาหกรรมต่ า งที่ ส ร้ า ง มลภาวะอันเป็นพิษให้แก่โลกด้วย หากกล่าวถึงในด้านการศึกษา ก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน เช่นกัน คือ การใช้เอกสารประกอบการสอนที่เป็นเอกสารหรือสื่อสิ่งพิมพ์ที่เป็น กระดาษ โดษกระดาษนั้นมีวัถุดิบจากต้นไม้ อีกทั้งยังผ่านกะบวนการต่างๆใน โรงงานอุ ต สาหกรรมจนได้ ม าซึ่ ง กระดาษเพี ย งหนึ่ ง แผ่ น ซึ่ ง หากตามรอย กระบวนการผลิตกระดาษขึ้นมาจะพบว่า ขั้นตอนกระบวนการทางานต่างๆนั้น สร้างมลภาวะให้กับโลกมากอย่างหน้าตกใจ ดังนั้น งานวิจัยเรื่อง Green Classroom นี้ได้เล็งเห็นถึงปัญหาที่เกิดขึ้น จึง ได้นาเอาการใช้งาน Google Classroom เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดย Google Classroom เป็นห้องเรียนออนไลน์ที่อยู่บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต อาจารย์ ผู้ ส อนสามารถเพิ่ ม เอกสารการสอนที่ เ ป็ น ไฟล์ ง านไว้ ใ น Google Classroom และนักศึกษาสามารถดาวน์โหลด หรือเปิดดูเอกสารจากเครื่อง คอมพิว เตอร์ หรื อโทรศัพท์มือถือประเภทสามาร์ ทโฟนได้ทันที โดยไม่ต้องมี เอกสารการเรียนการสอนที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์ตลอดทั้งปีการศึกษา ซึ่งจะทาให้ลด การใช้กระดาษโดยไม่จาเป็น คำหลัก: Carbon Footprint, Global warming, Google Classroom, Paperless

ระเบียบวิธี ค่า Emission Factor คือค่าการปลดปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ของ ผลิตภัณฑ์ที่ใช้งานต่อหน่วยผลผลิตในองค์กรหนึ่งๆ ค่า EF อาจมีการใช้ทั้งใน ลักษณะประเมินการใช้ทรัพยากรในองค์กรโดยอ้างอิงกับค่ามาตรฐานที่มีอยู่ และอาจคานวณหาค่า EF ขึ้นมาเองในกรณีทีไม่มีฐานข้อมูล ตารางที่ 1 ค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวบรวมจากแหล่งข้อมูลทุติยภูมิ

ที่

ชื่อ

1 2 3 4 5

Cardboard Corrugated Box Kraft Paper Pulp (domestic) Pulp (used Paper) 6 Paper 7 กระดาษ 8 กล่องกระดาษลูกฟูกที่ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ 9 แกนกระดาษ 10 เทปกาวปิดกล่อง 11 ลังกระดาษ 12 สติกเกอร์ปิดกล่อง

หน่วย ค่าแฟคเตอร์ (kgCO2 e/หน่วย) kg 0.7243 kg 0.8260 kg 1.1614 kg 1.0768 kg 0.2075 kg kg kg kg kg kg kg

1.4755 0.7350 0.8260 0.7243 3.1900 0.7243 0.5100

ที่มา: แนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผลิตภัณฑ์, 2554

วิธีดาเนินการ คานวณหาน้าหนักกระดาษ กระดาษ 1 แผ่น น้าหนัก กระดาษ 1 แผ่น น้าหนัก (กรัม) หาจาก ความยาว(เมตร) x 39.37 x ความกว้าง(เมตร) x 39.37 x แกรม(กรัม/ตาราง เมตร) / 39.37 x 39.37 = 0.29 x 39.37 x 0.25 x 39.37 x 80 / (39.37)2 = 5.82

ดังนั้น กระดาษ A4 80 แกรม จานวน 1 แผ่น มีน้าหนักประมาณ 6 กรัม โดยที่นักศึกษา 1 คน จะใช้เอกสารประกอบการสอนวิชา 500405 เทคโนโลยี สารสนเทศเพื่องานเอกสารและการนาเสนอ ที่มีกระดาษจานวนทั้งสิ้น 96 แผ่น ตลอดทั้งเทอมการศึกษา ดังนั้น = 6 กรัม x 96 แผ่น = 576 กรัม หรือ 0.57 กิโลกรัม และมีจานวนนักศึกษาทั้งที่มีเอกสารประกอบการสอนทั้งสิ้นเป็นจานวน 90 เล่ม ดังนั้น = 0.57 กิโลกรัม x 90 เล่ม = 51.3 กิโลกรัม จะสรุปได้ว่า ค่า EF ของเอกสารประกอบการสอนรายวิชา 500405 จานวน 90 เล่ม จะได้ = 51.3 kg x 0.735 kgCO2e/kg = 69.37 kgCO2e/kg แต่เนื่องจากการเปลี่ยนมาใช้การเรียนการสอนในชั้นเรียนแบบ Google Classroom แทนการใช้เอกสารประกอบการสอนนั้น จะเป็นการใช้อุปกรณื คอมพิวเตอร์เข้ามาทดแทนเอกสารประกอบการสอนจึงทาให้ใช้พลังงานไฟฟ้ามาก ขึ้นด้วยโดยที่ การใช้ไฟฟ้าของเครื่องคอมพิวเตอร์จะเกิดจาก 2 แหล่งใหญ่คือ ตัวเครื่องและจอภาพ เครื่องคอมพิวเตอร์จะมีแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า ที่ต่อเข้าไปที่ Power Supply จากกาลังไฟ 220V. แปลงลงมาเป็นไฟฟ้ากาลังต่า 3.3V, 5V และ 12V เพื่อใช้งานให้ ส่วนต่างๆเช่น Main board, Hard disk, Optical drive (CD หรือ DVD), PCI Card ต่างๆ (Modem, Sound), พัดลมระบายความร้อน และ อื่นๆ ดังนั้นในเวลา 1 ชั่วโมง คอมพิวเตอร์จะใช้กาลังไฟฟ้าไปทั้งสิ้น กาลังไฟ Watts (W) = แรงดันไฟฟ้า Volt (V) x ค่ากระแส Amp (A) = 220 (V) x 0.9 (A) = 198 Watts ดังนั้น ใน 1 คาบเรียนจะใช้เวลาทั้งสิ้น 3 ชั่วโมง ทาให้ คอมพิวเตอร์ 1 เครื่องใช้ พลังงานไฟฟ้าทั้งสิ้น = 198 Watts x 3 = 594 Watts และจานวนนักศึกษาใน 1 คาบเรียน ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นจานวน 45 เครื่อง ดังนั้น = 594 Watts x 45 = 26,730 Watts

สรุป จากการศึกษาข้อมูลการหาค่าคาร์บอนฟุตปรินท์ ของการใช้เอกสารประกอบการ สอนรายวิชา 500405 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่องานเอกสารและการนาเสนอนั้น สามารถสรุปได้ว่า เอกสาร 1 เล่ม จะให้ค่า EF คือ0.77 kgCO2e/kg และเอกสาร ทั้งหมด 90 เล่ม จะให้ค่า EF คือ 69.37 kgCO2e/kg และการเปลี่ยนมาใช้งาน Google Classroom ในการเรียนการสอน ทาให้นักศึกษาสามารถเข้าถึงเอกสาร การเรียนการสอนได้ทุกเวลาและสถานที่ที่สามารถเข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้ แต่อาจจะ ทาให้การใช้งานพลังงานไฟฟ้าเพิ่มมาขึ้น

อ้างอิง [1] จุฑารัตน์ ชุนหะศรี. (2556). พฤติกรรมการลดคาร์บอนฟุตพริ้นท์: กรณีศึกษาบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเทศบาลตาบลเมือง แกลง จังหวัดระยอง. วารสารวิทยบริการ หน้า 82 – 93. [2] Belko002: CarbonEmissionsABriefHistory, URL:http://belko002.hubpages.com/hub/CarbonEmissionsABriefHistory, access on 7/2/2016. [3] TGO:CFP_Guideline_TH_Edition3, URL: http://www.tgo.or.th/download/publication/CFP_Guideline_TH_Edition3.pdf, access on 7/2/2016. [4] chemithon:Sulfo and Sulfation, URL: http://www.chemithon.com/Resources/pdfs/Technical_papers/Sulfo%20and%20Sulfa%201.pdf, access on 7/2/2016. [5] ไพรัช อุศุภรัตน์ และหาญพล พึ่งรัศมี. (2557). การประเมินคาร์บอนฟุตพรินท์องค์กร ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ รังสิต Carbon Footprint of Organization: Case Study for Thammasat University. วารสารวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2557 [6] URL: http://www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_8/kumae/paper.pdf, access on 7/2/2016. [7] URL: http://www.lhcpaper.com/index.php? Option=com_content&view=article&id=30:calpaper&catid=27:new-to-joomla&Itemid=44, access on 7/2/2016. [8] URL: http://taroangtoang.blogspot.com/2015/03/a4.html, access on 7/2/2016.

SAUNIC2016 - 185.pdf

วารสารวิทยบริการ หน้า 82 – 93. [2] Belko002: CarbonEmissionsABriefHistory,. URL:http://belko002.hubpages.com/hub/CarbonEmissionsABriefHistory, access on ...

968KB Sizes 4 Downloads 156 Views

Recommend Documents

No documents