$- :+#+8D)
PISA Thailand 2:"9!2ĉD2+<) :+25!/<*:0:2+čE-8D F!F-*= +8+/0> 1: < :+

ผลการประเมิน PISA 2012 คณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

สถาบันส่งเสริ มการสอนวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิ การ ร่วมกับ ORGANISATION for ECONOMIC CO-OPERATION and DEVELOPMENT (OECD)

        

 

   

 









  



                             



         





คํานํา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพืRอความร่วมมือและ พัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ดํา เนิน โครงการประเมิน ผลนักเรีย นนานาชาติ หรือ PISA (Programme for International Student Assessment) โดยมีวตั ถุประสงค์เพืRอประเมินคุณภาพของระบบการศึกษา สําหรับประเทศสมาชิก และ ประเทศร่วมโครงการ ทังM หมดประมาณ 90% ของเขตเศรษฐกิจโลก โดยประเมินความรูแ้ ละทักษะของ นักเรียนทีมR อี ายุ 15 ปี ในด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ซึงR ประเทศไทยเข้าร่วมการประเมินผล มาตังM แต่แรกจนครบสามครังM ในการประเมินรอบแรก (Phase I : PISA 2000 PISA 2003 และ PISA 2006) และปจั จุบนั เป็ นการประเมินรอบสอง (Phase II : PISA 2009 PISA 2012 และ PISA 2015) การประเมินผล ในแต่ละครังM สามารถให้ขอ้ มูลคุณภาพการศึกษาของชาติ ซึงR ผูท้ มRี สี ่วนเกียR วข้องกับการศึกษาทุกฝา่ ยและ สาธารณชนควรต้องได้รบั รูว้ ่า ระบบการศึกษาของเราได้เตรียมความพร้อมเยาวชนของชาติให้พร้อมทีจR ะ เป็ นพลเมืองทีมR คี ณ ุ ภาพ มีสมรรถนะในการแข่งขันหรือไม่ อย่างไรเมือR เทียบกับประชาคมโลก รายงานฉบับนีMมจี ุดมุ่งหมายเพืRอให้ขอ้ มูลแก่ผบู้ ริหารใช้เป็ นแนวทางการจัดการศึกษาและให้ขอ้ มูลต่าง ๆ ทีเR ป็ นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา ซึงR ผลการศึกษาของ PISA จะบอกให้ทราบว่า ระบบ การศึกษาได้เตรียมความพร้อมสําหรับนักเรียนทีจR ะดําเนินชีวติ และมีสว่ นสร้างสรรค์สงั คมมากน้อยเพียงใด สสวท. ซึRงทําหน้าทีเR ป็ นศูนย์แห่งชาติทรีR บั ผิดชอบดําเนิน การศึกษาวิจยั ขอขอบคุณในความร่วมมือทีR ได้รบั จากผูบ้ ริหารระดับสูงในกระทรวงศึกษาธิการ สํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และสํานักประสาน และพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถินR กระทรวงมหาดไทย ตลอดจนครูและบุคลากรทางการศึกษาทีมR ี ส่วนร่วมในการเก็บข้อมูล การให้รหัสคะแนน และการบันทึกข้อมูล ไว้ ณ โอกาสนีM

(นางพรพรรณ ไวทยางกูร) ผูอ้ าํ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญ หน้ า โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA

1

ผลการประเมินในภาพรวม

3

แนวโน้มผลการประเมินของนักเรียนไทย

4

ผลการประเมินการรูเ้ รือR งคณิตศาสตร์

7

ผลการประเมินการรูเ้ รือR งการอ่าน

14

ผลการประเมินการรูเ้ รือR งวิทยาศาสตร์

18

สรุปและนัยทางการศึกษา

22

คําอธิ บายสําหรับผูอ้ ่าน อักษรย่อทีใR ช้ในรายงาน สําหรับแทนโรงเรียนและนักเรียน - สพฐ.1

โรงเรียน สพฐ. ทีมR าจากโรงเรียนขยายโอกาสเดิม

- สพฐ.2

โรงเรียน สพฐ. ในสังกัดกรมสามัญศึกษาเดิม

- สช.

โรงเรียนในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

- กศท.

โรงเรียนในสังกัดสํานักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถินR

- สาธิ ต

โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย

- อศ.1

โรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาของเอกชน

- อศ.2

วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ

- กทม.

โรงเรียนในสังกัดสํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร

- จุฬาภรณ์ ฯ

โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย

ผลการประเมิน PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร ....................................................................................................................................................

โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 1. PISA เป็ นโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติทมRี ปี ระเทศสมาชิก OECD และประเทศ นอกกลุ่มสมาชิก OECD ซึงR เรียกว่า ประเทศร่วมโครงการ (Partner countries) มีวตั ถุประสงค์เพืRอ ต้องการหาตัวชีวM ดั คุณภาพการศึกษาให้แก่ประเทศสมาชิกในโครงการ โดยมุ่งให้ ข้อมูลแก่ระดับ นโยบาย และผูป้ ฏิบตั ิ PISA ใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวนมากเป็ นตัวแทนของประชากร ใน PISA 2012 มีนักเรียนกลุ่มตัวอย่างอายุ 15 ปี ซึงR ถือว่าเป็ นวัยจบการศึกษาภาคบังคับ ประมาณ 510,000 คน จาก 65 ประเทศ และเขตเศรษฐกิจ สําหรับนักเรียนกลุ่มตัวอย่างของไทยมีทงั M หมด 6,606 คน จาก 239 โรงเรียนของทุกสังกัด ทังM นีMระดับชันM ทีRมนี ักเรียนอายุ 15 ปี มากทีสR ุดของโรงเรียนไทย ได้แก่ ชันM มัธยมศึกษาปีทRี 4 หรือ ปวช.1 (ประมาณ 75%) รองลงมาคือ ชันM มัธยมศึกษาปี ทRี 3 (ประมาณ 20%) ทีเR หลือเป็ นนักเรียนชันM มัธยมศึกษาปีทRี 1, 2 และปี ทRี 5 หรือ ปวช.2 การสุ่มตัวอย่างใช้วธิ กี าร สุ่มแบบเป็ นระบบอย่างเคร่งครัด ตามสัดส่วนจํานวนของนักเรียนและตามพืMนทีRเพืRอให้ได้ตวั แทนทีR กระจายทัวประเทศ R สําหรับโรงเรียนในกลุ่มพิเ ศษทีRเ น้ น ทางด้านวิทยาศาสตร์แ ละคณิต ศาสตร์ เฉพาะกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิ ทยาลัยเข้าร่วมการประเมินทุกโรงเรียน 2. PISA 2012 มีค ณิต ศาสตร์เ ป็ นการประเมินหลัก และมีก ารอ่ านและวิทยาศาสตร์เ ป็ น การประเมินรอง ซึงR การประเมินคณิตศาสตร์เป็ นวิชาหลักนีMนับเป็ นครังM ทีRสองต่อจาก PISA 2003 โครงสร้างการประเมินประกอบด้วยหมวดเนืMอหา (Content) หมวดกระบวนการ (Process) และ หมวดความสามารถพืนM ฐานทางคณิตศาสตร์ (Fundamental capabilities) และลักษณะคําตอบของ ข้อสอบทีตR อ้ งการมีผสมกันระหว่างแบบเลือกตอบ และข้อสอบทีใR ห้นักเรียนเขียนตอบได้อย่างอิสระ ซึRงข้อสอบจะถูกจัดเป็ นกลุ่ม ๆ ตามข้อความต้นเรืRองทีRเกีRยวข้องกับสถานการณ์ ในชีวติ จริง โดย ข้อสอบทังM หมดต้องใช้เวลาในการตอบทังM หมด 390 นาที แต่เนืRองจากนักเรียนแต่ละคนไม่อาจทํา ข้อสอบได้ถงึ หกชัวโมงครึ R งR ข้อสอบจึงถูกจัดเป็ นหมู่ (Clusters) ทีมR คี วามยากง่ายพอกัน แล้วนํ ามา จัดเป็ นฉบับทีRมขี อ้ สอบคละหมู่กนั จํานวน 13 ฉบับ นักเรียนแต่ละคนจะได้ขอ้ สอบต่างฉบับกัน ซึRงใช้เวลาในการทําข้อสอบ 2 ชัวโมง R

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 1

3. นอกจากประเมินผลแล้ว PISA 2012 ยังเก็บข้อมูลจากแบบสอบถามด้วย มีแบบสอบถาม ทังM หมดสีฉR บับ แบบสอบถามนักเรียนถามเกีRยวกับด้านภูมหิ ลังตัวนักเรียนเอง บ้าน โรงเรียน และ ประสบการณ์การเรียน ซึงR ให้นกั เรียนใช้เวลา 30 นาทีในการตอบ แบบสอบถามทีใR ห้นกั เรียนเลือกทําอีกสองแบบ ได้แก่ แบบสอบถามเกีRยวกับความคุน้ เคย และการใช้เทคโนโลยีการสืRอสาร และแบบสอบถามเกีRยวกับการศึกษาและการเตรียมตัว สําหรับการงาน (ประเทศไทยไม่ได้เลือกทําแบบสอบถามสองฉบับนี) แบบสอบถามโรงเรียน สอบถามผูบ้ ริหารโรงเรียนเกีRยวกับระบบโรงเรียน และสิงR แวดล้อม ทางการเรียน ใช้เวลาตอบ 20 นาที บางประเทศหรือเขตเศรษฐกิจ เลือกใช้แบบสอบถามสําหรับพ่อแม่ซงRึ ขอให้ขอ้ มูลเกีRยวกับ การกําหนดรู้ และบทบาททีRเข้าไปเกีRยวข้องกับโรงเรียนของบุตรหลาน การสนับสนุ น ด้านการเรียนแก่นักเรียน และความคาดหวังด้านการงานอาชีพของนักเรียนในอนาคต ในส่วนทีเR กียR วกับคณิตศาสตร์ (ประเทศไทยไม่ได้เลือกทําแบบสอบถามฉบับนี) 4. ประเทศในเอเชี ย ตะวันออกและตะวันออกเฉี ยงใต้ นอกจากเกาหลีและญีRปุ่น ซึRงเป็ น ประเทศสมาชิก OECD แล้ว มีประเทศ/เขตเศรษฐกิจทีเR ข้าร่วมโครงการ ได้แก่ จีน (ซึงR ประเมินใน สามเขตเศรษฐกิจ คือ ฮ่ อ งกง-จีน มาเก๊ า-จีน และเซีRยงไฮ้-จีน) มาเลเซีย สิง คโปร์ จีนไทเป อินโดนีเซีย ไทย และเวียดนาม ซึงR เข้าร่วมโครงการครังM แรกในปี 2012 ส่วนอินเดียมีการประเมินใน สองเขตเศรษฐกิจ ได้แก่ หิมาจัลประเทศ และทมิฬนาฑู 5. PISA รายงานผลการประเมินเป็ นสองแบบหลัก คือ รายงานเป็ นคะแนนเฉลียR เทียบกับค่าเฉลียR OECD ซึงR เป็ นคะแนนมาตรฐาน ครังM แรกใน PISA 2000 ตังM ค่าคะแนนเฉลียR ทีคR ะแนนมาตรฐาน 500 (Score points) ซึงR จะแปรเปลียR นไปบ้างเล็กน้อยในการประเมินแต่ละครังM ตามคะแนนของประเทศ ในโครงการ นอกจากนีM PISA ยังให้ขอ้ มูลทีมR คี วามหมายมากขึนM กว่าคะแนนเฉลียR โดยรายงานว่า นักเรียนรูเ้ รืRองมากน้อยเพียงใด ในรูปของระดับความสามารถ (หรือระดับสมรรถนะ) 6 ระดับ จาก ระดับ 1 (ตํRาสุด) จนถึงระดับ 6 (สูงสุด) และกําหนดให้ระดับ 2 เป็ นระดับพืQนฐานเบืQองต้ น ซึงR เป็ น ระดับทีแR สดงว่า นักเรียนเริR มรู้และใช้ ประโยชน์ จากความรูใ้ นชีวติ จริงในอนาคต จํานวนนักเรียน ทีรR ะดับตํRาโดยเฉพาะทีตR R ํากว่าระดับ 2 เป็ นตัวชีบM อกทีรR ะบบการศึกษาทั Rวไปเป็ นกังวล เพราะเป็ น ตัวชีบM อกคุณภาพของทุนมนุ ษย์ในตลาดแรงงานในอนาคต และชีนM ัยถึงความสามารถในการแข่งขัน ของชาติในประชาคมโลก

2 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

ผลการประเมินในภาพรวม 6. ประเทศ/เขตเศรษฐกิจในเอเชีย ได้แก่ เซีRยงไฮ้-จีน สิงคโปร์ ฮ่องกง-จีน ญีRปุ่น เกาหลี และมาเก๊า-จีน มีผลการประเมินอยูใ่ นกลุ่มบนสุดทังM สามวิชา ซึงR ได้แก่ คณิตศาสตร์ การอ่าน และ วิทยาศาสตร์ ส่วนประเทศตะวันตกทีอR ยูใ่ นกลุ่มบนสุดทุกวิชาหรือบางวิชา ได้แก่ ฟินแลนด์ โปแลนด์ (การอ่าน, วิทยาศาสตร์) ลิกเตนสไตน์ สวิตเซอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (คณิตศาสตร์) เอสโตเนีย เวียดนาม และแคนาดา (วิทยาศาสตร์) เวียดนามซึงR เพิงR เข้าร่วมการประเมินเป็ นครังM แรกมีคะแนน คณิตศาสตร์และการอ่านสูงกว่าค่าเฉลียR OECD สหราชอาณาจักรมีคะแนนคณิตศาสตร์และการอ่าน อยู่ทRคี ่าเฉลีRย OECD สหรัฐอเมริกามีคะแนนคณิตศาสตร์ตR ํากว่าค่าเฉลียR OECD และวิชาอืRนอยู่ทRี ค่าเฉลีRย OECD ส่วนประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเ ซีย มีค ะแนนตํRากว่าค่าเฉลีRย OECD ทังM สามวิชา ทังM นีMไทยมีคะแนนสูงกว่ามาเลเซียและอินโดนีเซียทุกวิชา 7. สําหรับประเทศในเอเชีย อาจจําแนกเป็ นกลุ่มสูง และกลุ่มตํRา กลุ่มสูง คือ มีนักเรียนทีRมผี ล การประเมินไม่ถงึ ระดับพืนM ฐานตํRาสุดทีคR วรจะมี (Minimum requirement) ไม่มาก ส่วนกลุ่มตํRาคือ มีนกั เรียนกลุ่มนีMในสัดส่วนทีสR งู ดังสรุปในรูปต่อไปนีM รูป 1 ร้อยละของนักเรียนนานาชาติทแRี สดงสมรรถนะไม่ถงึ ระดับพืนM ฐาน % นักเรียน 80 70 60 50 40 30 20 10 0

การอ่าน

คณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 3

แนวโน้ มผลการประเมินของนักเรียนไทย 8. แนวโน้มจาก PISA 2009 ผลการประเมินของนักเรียนไทยสูงขึนM ทังM ด้านคณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ โดยการอ่านและวิทยาศาสตร์สูงขึนM อย่างมีนัยสําคัญ นับเป็ นสัญญาณทีดR ที ชRี นMี ัยว่า การศึกษาได้หยุดตกตํRาลงแล้ว อย่างน้อยก็ระดับหนึRง อย่างไรก็ตาม คณิตศาสตร์เป็ นด้านทีเR พิมR ขึนM น้อยทีสR ุด ทังM นีMผลการประเมินยังคงตํRากว่าค่าเฉลียR OECD ทุกวิชา ซึงR ชีนM ัยว่า คุณภาพการศึกษา ของไทยยังห่างไกลจากความเป็ นเลิศ ความพยายามทีRจะยกระดับคุณภาพการศึกษายังคงเป็ น ภารกิจสําคัญทีตR อ้ งดําเนินต่อไป รูป 2 การเปลียนแปลงคะแนนของนักเรียนไทยใน PISA 2009 และ PISA 2012 คะแนน 450 445 440 435 430 425 420 415 410

Chart Title

วิทยาศาสตร์ การอ่าน

คณิตศาสตร์

PISA 2009

PISA 2012

9. หากติดตามแนวโน้มจากการประเมินครังM แรก PISA 2000 จนถึง PISA 2012 พบว่า ในสามด้าน ทีปR ระเมิน ด้านวิทยาศาสตร์กบั การอ่านมีแนวโน้มสูงขึนM แต่คณิตศาสตร์ยงั คงมีแนวโน้มลดตํRาลงกว่า ใน PISA 2000 การเพิมR ขึนM ของคณิตศาสตร์มขี นMึ เฉพาะช่วง PISA 2009 ถึง PISA 2012 เท่านันM และทีสR ําคัญ คณิตศาสตร์มคี ะแนนตํRาทีสR ุดในบรรดาสามด้านทีRประเมิน ทังM นีMมขี อ้ สังเกตทีRสําคัญคือ ผลการประเมินทีลR ดตํRาลงทุกวิชาใน PISA 2003 ซึงR ครบสามปีหลังจากการปฏิรปู การศึกษาทีเR กิดขึนM ในปี 1999 (พ.ศ. 2542) และยังคงลดลงหรือทรงตัวอยู่อกี สามปี ต่อมา แล้วค่อย ๆ ปรับตัวสูงขึนM ใน อีกสามปี และหกปีต่อมา ซึงR เป็ นสัญญาณทีดR ที แRี สดงให้เห็นว่า ความตกตํRาได้หยุดลงแล้ว

4 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

รูป 3 แนวโน้มผลการประเมินของนักเรียนไทยจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 การอ่าน แนวโน้ การอ่าน) น Linear ม(การอ่

คณิตศาสตร์ แนวโน้ คณิตศาสตร์) Linear ม(คณิ

วิทยาศาสตร์ แนวโน้ Linear ม(วิวิทยาศาสตร์)

คะแนน 450 445 440 435 430 425 420 415 410 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

10. จุดสําคัญทีพR บจุดหนึRงคือ การลดตํRาลงของนักเรียนกลุ่มทีมR ผี ลการประเมินสูง แม้ว่าเป้าหมาย หนึRงของการศึกษาคือ ความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ซึงR ทุกระบบสามารถทําโดยการลดช่องว่าง ของความแตกต่างระหว่างนักเรียนกลุ่มสูงกับกลุ่มตํRาให้แคบลง แต่เป้าหมายทีRต้องการคือ การยก ระดับนักเรียนกลุ่มตํRาให้สงู ขึนM แต่ในระบบการศึกษาไทยกลับมีเหตุการณ์ทนRี ักเรียนกลุ่มสูงลดตํRาลง ซึงR เกิดขึนM กับทุกวิชา รูป 4 แนวโน้มทีลR ดลงของนักเรียนไทยกลุ่มสูงจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 การอ่าน แนวโน้ Linear ม(การอ่ การอ่าน) น

คณิตศาสตร์ แนวโน้ Linear ม(คณิ คณิตศาสตร์)

วิทยาศาสตร์ แนวโน้ Linearม(วิวิทยาศาสตร์)

คะแนน 600 580 560 540 520 500 480 460 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 5

11. อย่างไรก็ตาม มีขอ้ ทีนR ่ าพึงพอใจทีนR กั เรียนกลุ่มตํRามีผลการประเมินสูงขึนM ทังM สามวิชา แต่ช่องว่าง ของคะแนนระหว่างกลุ่มสูงกับกลุ่มตํRายังคงกว้างมากอยู่ โดยมีความแตกต่ างกันอยู่ประมาณหนึRง ระดับ และประเด็นสําคัญคือ การอ่านเป็ นด้านที ผลการประเมิ นตําสุดทัง5 นักเรียนกลุ่มสูงและ กลุ่มตํา จึงสมควรต้องเร่งดําเนินการปรับปรุงในเรือR งนีM รูป 5 แนวโน้มทีสR งู ขึนM ของนักเรียนไทยกลุ่มตํRาจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 การอ่าน แนวโน้ การอ่าน) น Linear ม(การอ่

คณิตศาสตร์ แนวโน้ คณิตศาสตร์) Linear ม(คณิ

วิทยาศาสตร์ แนวโน้ Linear ม(วิวิทยาศาสตร์)

คะแนน 500 475 450 425 400 375 350 325 300 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

12. ความแตกต่างระหว่างเพศตามค่าเฉลียR นานาชาติ ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์นักเรียน ชายมีคะแนนสูงกว่านักเรียนหญิง ส่วนด้านการอ่ านนักเรียนหญิงมีคะแนนสูงกว่า อย่างไรก็ตาม นักเรียนไทยไม่ได้มผี ลการประเมินเป็ นไปตามแนวโน้มนานาชาติ ทังM นีMเพราะนักเรียนหญิงมีผลการ ประเมินสูงกว่านักเรียนชายทังM ด้านคณิตศาสตร์ การอ่าน และวิทยาศาสตร์ 13. ความแตกต่างของนักเรียนต่างกลุ่มโรงเรียนมีช่องว่างกว้างมาก โดยทัวไปทุ R กระบบการศึกษา มีเป้าหมายสร้างความเท่าเทียมกันในการศึกษา ซึงR ไม่ได้หมายความถึงโอกาสในการเข้าโรงเรียน เท่านันM หากแต่ หมายถึงความเท่าเทียมกันในคุณภาพการศึกษาทีRนักเรียนได้รบั ด้วย แต่ สําหรับ นักเรียนไทยอายุ 15 ปี พบว่า คะแนนเฉลีRยทุกวิชาของนัก เรียนต่างกลุ่มโรงเรียน มีพสิ ยั ตังM แต่ กลุ่มบนสุดจนถึงตํRาสุดบนสเกลนานาชาติ ความแตกต่างของคะแนนของนักเรียนกลุ่มสูงสุดกับ กลุ่มตํRาสุดทุกวิชามีช่องว่างกว้างมากกว่าสองระดับครึงR หรือเท่ากับผลการเรียนทีRแตกต่างกันถึง สามปี

6 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

ผลการประเมินการรูเ้ รืองคณิตศาสตร์ 14. คะแนนเฉลียR OECD ของคณิตศาสตร์ ใน PISA 2012 เป็ นคะแนนมาตรฐานทีR 494 คะแนน สิบประเทศ/เขตเศรษฐกิจทีมR คี ะแนนคณิตศาสตร์สูงสุด ได้แก่ เซียR งไฮ้-จีน (613) สิงคโปร์ (573) ฮ่องกง-จีน (561) จีนไทเป (560) เกาหลี (554) มาเก๊า-จีน (538) ญีRปุ่น (536) ลิกเตนสไตน์ (535) สวิต เซอร์แ ลนด์ (531) และเนเธอร์แ ลนด์ (523) ในบรรดากลุ่ม สิบ ประเทศบนนีM เ ป็ น ประเทศ/ เขตเศรษฐกิจในเอเชียถึงเจ็ดประเทศ/เขตเศรษฐกิจ ซึRงประเทศในเอเชียรวมทังM เวียดนามทีRเพิงR เข้าร่วมโครงการในปีนMีมคี ะแนนสูงกว่าค่าเฉลียR OECD ยกเว้นประเทศไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ทีมR คี ะแนนตํRากว่าค่าเฉลียR 15. นักเรียนไทยมีคะแนนเฉลียR 427 คะแนน ซึงR ตํRากว่าค่าเฉลียR OECD เกือบถึงหนึRงระดับ และ เมือR เรียงตามคะแนนเฉลียR จะอยูท่ ตRี ําแหน่ งประมาณ 50 ซึงR อยูใ่ นกลุ่มเดียวกับสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ คาซัคสถาน ชิล ี และมาเลเซีย ประเทศในเอเชียทีRมคี ะแนนตํR ากว่ าไทยเพียงประเทศเดียว คือ อินโดนีเซีย 16. แนวโน้มคณิตศาสตร์ของนักเรียนไทย เมืRอเทียบกับการประเมินคณิตศาสตร์ทเRี ป็ นวิชาหลัก ใน PISA 2003 เป็ นต้นมา จนถึง PISA 2009 คะแนนค่อนข้างคงทีR แต่ใน PISA 2012 ผลการประเมิน มีแนวโน้มสูงขึนM อย่างไรก็ตาม เมืRอเทียบกับ PISA 2000 ซึงR เป็ นการประเมินครังM แรกยังมีแนวโน้ม ลดตํRาลง รูป 6 แนวโน้มคะแนนคณิตศาสตร์จาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 คะแนนคณิตศาสตร์ 435

คณิตศาสตร์

430 425 420 415 410 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 7

แนวโน้ มการรู้เรืองคณิ ตศาสตร์ของนักเรียนไทยต่างกลุ่มโรงเรียน 17. คะแนนทีสR ูงขึนM นันM ส่วนทีสR ําคัญถือได้ว่าเป็ นความรับผิดชอบของกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส ในกลุ่มของ สพป. (แต่เนืR อ งจากในประเมินครังM ก่อ น ๆ เคยแทนโรงเรียนกลุ่มนีM ว่า สพฐ.1 เพืRอ ความต่อเนืRองจึงจะเรียก สพฐ.1 ต่อไปตามเดิม) ซึงR มีคะแนนเพิมR สูงขึนM มากทีสR ุด เมืRอเปรียบเทียบ กับ PISA 2009 พบว่า กลุ่มนีMมคี ะแนนเฉลียR สูงขึนM ถึงหนึRงระดับ ส่วนกลุ่มทีมR คี ะแนนไม่เปลียR นแปลง ได้แก่ กลุ่มโรงเรียนสาธิต กลุ่ม สพฐ.2 (หรือกลุ่มโรงเรียน สพม.) โรงเรียนสังกัดกรมการปกครอง ส่วนท้องถินR หรือโรงเรียนเทศบาล (กศท.) กลุ่มโรงเรียนเอกชน (สช.) ส่วนกลุ่มทีRมคี ะแนนลดลง ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดของกรุงเทพมหานคร (กทม.) และกลุ่มโรงเรียนและวิทยาลัยอาชีวศึกษา ทังM ของรัฐและเอกชนซึงR เป็ นกลุ่มตํRาสุด จนสมควรทีรR ะบบการศึกษาจะต้องเป็ นกังวล รูป 7 การเปลียR นแปลงคะแนนคณิตศาสตร์ของนักเรียนตามกลุม่ โรงเรียนใน PISA 2009 และ PISA 2012 สพฐ.1 กศท.

สพฐ.2 สาธิต

สช. อศ.1

คะแนนคณิตศาสตร์ 550 525 500 475 450 425 400 สพฐ.1 375 350 PISA 2009

กทม. อศ.2

สพฐ.1

PISA 2012

18. กลุ่มโรงเรียนทีนR ักเรียนมีคะแนนคณิตศาสตร์สูงกว่าค่าเฉลีRย OECD คือ นักเรียนจากกลุ่ม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย ซึงR มีคะแนนสูงทีสR ุด กับกลุ่มโรงเรียนสาธิต ส่วนกลุ่มโรงเรียนอืRน ๆ มีคะแนนตํRากว่าค่าเฉลียR OECD ทังM หมด กลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส หรือ สพฐ.1 แม้มคี ะแนนเป็ น อันดับสามของประเทศ แต่ตR ํากว่าค่าเฉลียR OECD ส่วนกลุ่มทีมR คี ะแนนตํRาสุดเป็ นกลุ่มโรงเรียนและ สถาบันอาชีวศึกษาทังM ของรัฐและเอกชน คะแนนเฉลีRยของนักเรียนไทยมีพสิ ยั ตังM แต่กลุ่มบนสุด จนถึงตํRาสุดบนสเกลนานาชาติ เปรียบเทียบคะแนนกลุ่มโรงเรียนต่าง ๆ กับคะแนนเฉลียR ของประเทศ ในโครงการได้ดงั นีM

8 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

ก. กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย (คะแนน 570) กับกลุ่มโรงเรียนสาธิต (คะแนน 534) ทังM สองกลุ่มนีMมคี ะแนนเท่ากับประเทศในกลุ่มสิบประเทศบน (Top ten) กลุ่มโรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัยแยกกลุ่มออกมาประเมินเป็ นครังM แรก ส่วนกลุ่มโรงเรียนสาธิตมี คะแนนคงทีRนับจาก PISA 2009 ทังM นีMความแตกต่างระหว่างคะแนนของนักเรียนกลุ่ม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกับทุกกลุ่ม แตกต่างอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติ ข. กลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส หรือ สพฐ.1 (คะแนน 457) กลุ่มนีMมคี ะแนนเพิมR สูงขึMนจาก PISA 2009 มากทีสR ุดถึงหนึRงระดับ คะแนนเฉลียR ของ สพฐ.1 ใกล้เคียงกับคะแนนเฉลียR ของประเทศกรีซและเซอร์เบีย ค. กลุ่มโรงเรียน สพม. หรือ สพฐ.2 (คะแนน 440) คะแนนเพิมR สูงขึนM จาก PISA 2009 เพียง 8 คะแนน มีคะแนนเฉลียR ประมาณเท่ากับประเทศไซปรัส และใกล้เคียงกับประเทศ ตุรกี โรมาเนีย และบัลแกเรีย ง. กลุ่มโรงเรียนสามัญ เอกชน (คะแนน 418) คะแนนไม่เปลีRยนแปลงเมืRอเทียบกับ PISA 2009 และมีคะแนนเฉลียR ประมาณเท่ากับประเทศมาเลเซียและชิล ี จ. โรงเรียน กศท. (คะแนน 406) คะแนนไม่เปลีRยนแปลงจาก PISA 2009 และ กทม. (คะแนน 400) คะแนนลดลง 14 คะแนน จาก PISA 2009 คะแนนใกล้เคียงกับประเทศ เม็กซิโก มอนเตเนโกร อุรกุ วัย และคอสตาริกา ฉ. กลุ่มวิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ (คะแนน 389) และโรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาของ เอกชน (คะแนน 369) มีคะแนนลดลง 4 และ 26 คะแนน ตามลําดับ ซึงR เท่ากับกลุ่มทีมR ี คะแนนตํRาทีสR ุดบนสเกลนานาชาติ เช่น เปรู อินโดนีเซีย กาตาร์ โคลอมเบีย เป็ นต้น

ระดับความสามารถหรือระดับความรู้และทักษะคณิ ตศาสตร์ 19. เนืRองจากคะแนนเฉลีRยอาจจะให้ขอ้ มูลทีRเป็ นประโยชน์ ได้ไม่มากนัก PISA จึงรายงานเป็ น ระดับความสามารถหรือ ระดับความรูแ้ ละทักษะคณิตศาสตร์ ข้อมูล สรุปได้ด งั นีM นักเรียนไทยรู้ คณิตศาสตร์ถงึ ระดับสูงสุด โดยเฉลียR มีเพียงร้อยละ 0.5 ในขณะทีเR ซียR งไฮ้-จีนมีค่าเฉลียR ถึงร้อยละ 31 และสิงคโปร์มรี อ้ ยละ 19 แต่นักเรียนไทยทีRรคู้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับพืMนฐานทีคR วรจะมี (Minimum requirement) นันคื R อ ไม่ถงึ ระดับ 2 ยังมีมากเกินไป โดยมีถงึ ร้อยละ 50 ซึงR มากกว่าค่าเฉลียR OECD (ทีมR คี ่าเฉลียR ร้อยละ 23) เกินหนึRงเท่าตัว ในขณะทีเR ซียR งไฮ้-จีนมีนักเรียนทีรR คู้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับ พืนM ฐานเพียงร้อยละ 4 และสิงคโปร์มเี พียงร้อยละ 8 เท่านันM

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 9

20. นักเรียนไทยทีรR คู้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับพืนM ฐาน แม้จะมีสดั ส่วนลดลงจาก PISA 2009 บ้างแต่ ก็ลดลงเพียงเล็กน้อย กล่าวคือ ลดลงจากร้อยละ 53 เป็ นร้อยละ 50 ซึงR ยังคงเป็ นสัดส่วนทีสR ูงเกินไป เพราะมีมากกว่าค่าเฉลียR OECD เกินเท่าตัว สัดส่วนนักเรียนทีมR คี วามรูแ้ ละทักษะคณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับพืMนฐานหรือระดับตํRาสุดทีRควรจะมี เป็ นตัวเลขทีรR ะบบการศึกษาโดยทัวไปให้ R ความสําคัญมาก เพราะชีMนัยถึงศักยภาพของพลเมืองในอนาคต ประเทศไทยมีนักเรียนทีRรูค้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับ พืนM ฐานมากเกินไป เรียงตามลําดับจากกลุ่มทีมR มี ากทีRสุด คือ นักเรียนสายอาชีวศึกษา (เอกชน 82% รัฐบาล 70%) กทม. (65%) กศท. (57%) สช. (54%) สพฐ. 2 (42%) และ สพฐ.1 (35%) ส่วนกลุ่มโรงเรียนสาธิตและกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยมีสดั ส่วนทีถR อื ว่าน่ าพึงพอใจ เพราะ มีเพียง 9% และ 2% ตามลําดับ การทีRนักเรียนกลุ่มตํRามีจํานวนมากส่วนหนึRงชีMนัยว่า นักเรียน กลุ่มตํRานีMได้ถูกละเลยจากระบบการศึกษา 21. นักเรียนไทยทีRรูค้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับ 2 และทีRระดับ 2 มีมากกว่าค่าเฉลีRย OECD ส่วน นักเรียนทีRรูค้ ณิต ศาสตร์สูงกว่าระดับ 2 มีน้อยกว่าค่าเฉลีRย OECD โดยเฉพาะทีRระดับ 4 ขึนM ไป แตกต่างกันในช่องว่างทีกR ว้างมาก รูป 8 ร้อยละของนักเรียนไทยทีรR เู้ รืRองคณิตศาสตร์ระดับต่าง ๆ เทียบกับค่าเฉลียR OECD ค่าเฉลียR OECD

% นักเรียน 35

ไทย

30 25 20 15 10 5 0 ตํRากว่า ระดับ 1

ระดับ 1

ระดับ 2

ระดับ 3

10 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

ระดับ 4

ระดับ 5

ระดับ 6

22. นักเรียนทีRรูค้ ณิตศาสตร์ถงึ ระดับสูง (ระดับ 5 และระดับ 6 รวมกัน) ซึRงถือว่าอยู่ในระดับทีR น่ าพึงพอใจมีเฉพาะกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เพราะมีถงึ 31% (ระดับ 5 มี 24.2% และ ระดับ 6 มี 6.9%) กับกลุ่มโรงเรียนสาธิตมี 20% (ระดับ 5 มี 15.6% และระดับ 6 มี 4.5%) ส่วน กลุ่มโรงเรียนทีRยกระดับสูงขึนM เป็ นโรงเรียนกลุ่ม สพป. (สพฐ.1) จากทีRไม่เคยมีนักเรียนทีRระดับสูง แต่ในปี นMีมถี งึ ระดับสูงเกือบ 6% และมีนักเรียนทีรR ะดับสูงสุด (ระดับ 6) ถึง 1.2% ส่วนกลุ่ม สพม. (สพฐ.2) มีนกั เรียนทีรR ะดับสูง 3% แต่ทรRี ะดับ 6 มีตRํากว่า 1% กลุ่มโรงเรียนเอกชน (สช.) มีนักเรียน ทีรR ะดับสูงประมาณ 2% ส่วนกลุ่มอืRน ๆ มีน้อยมากจนถือว่าไม่มเี ลย 23. การรายงานผลการประเมินตามพืนM ทีภR าคภูมศิ าสตร์ ข้อมูลชีวM ่า ในขณะทีรR ะบบต่างเป็ นกังวล กับผลการประเมินของนักเรียนจากภาคใต้และภาคอีสาน แต่ขอ้ มูลของ PISA 2012 ชีวM ่า นักเรียน จากพืMนทีRภาคกลางทีRไม่รวมกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีผลการประเมินตํRาทีRสุด (ใกล้เคียงกับภาค อีสานตอนล่าง)

แนวโน้ มการรู้เรืองคณิ ตศาสตร์ของนักเรียนไทยต่างพื5นที 24. แนวโน้ มจาก PISA 2009 พบว่า กลุ่มทีRมคี ะแนนลดลงเป็ นนักเรียนกลุ่มทีRเคยมีคะแนนสูง นันR คือ นักเรียนจากเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล กับนักเรียนจากภาคเหนือ ตอนบน ภาคกลาง มีคะแนนคงทีR นอกนันM ทุกกลุ่มมีคะแนนเพิมR ขึนM อย่างไรก็ตาม จากทีรR ายงานข้างต้นแล้วว่า คะแนน ทีเR พิมR ขึนM แม้จะเป็ นตามภูมภิ าคก็เป็ นความรับผิดชอบของกลุ่ม สพฐ.1 มากกว่ากลุ่มอืRน รูป 9 การเปลียR นแปลงคะแนนคณิตศาสตร์ของนักเรียนตามพืนM ทีใR น PISA 2009 และ PISA 2012 กทม.+ อีสานล่าง

กลาง ใต้

เหนือบน ตะวันออก

เหนือล่าง ตะวันตก

อีสานบน

คะแนนคณิตศาสตร์ 465 450 435 420 405 390 PISA 2009

PISA 2012

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 11

25. ถ้าดูแนวโน้มจากการประเมินใน PISA 2003 ทีRมคี ณิตศาสตร์เป็ นการประเมินหลัก พบสิงR ทีR ระบบการศึกษาต้องกังวล คือ นักเรียนกลุ่มสูงกลับมีคะแนนลดลง นันคื R อ นักเรียนจากเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีคะแนนลดลงมาก กลุ่มทีมR คี ะแนนลดลงมากทีRสุดเมืRอเทียบกับ PISA 2003 เป็ น นักเรียนจากภาคกลางซึRงลดลงมาตํRากว่านักเรียนจากภาคอีสานตอนล่างเล็กน้ อย นักเรียนกลุ่มทีRม ี คะแนนเพิRมขึMนมากเป็ นนัก เรียนจากภาคอีส านตอนบน รองลงมาเป็ นภาคตะวันตก ซึRง เพิRมขึMน จนกระทังมี R คะแนนสูงกว่านักเรียนจากเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ใน PISA 2012 นอกนันM กลุ่มอืRน มีคะแนนเพิมR ขึนM จาก PISA 2003 แม้จะเพิมR ขึนM ไม่มากนัก (ภาคเหนือตอนบน ภาคเหนือตอนล่าง ภาคใต้ และตะวันออก) ส่วนนักเรียนจากภาคอีสานตอนล่างมีคะแนนตํRาไม่เปลียR นแปลง รูป 10 การเปลียR นแปลงคะแนนคณิตศาสตร์ของนักเรียนตามพืนM ทีใR น PISA 2003 และ PISA 2012 กทม.+ อีสานล่าง

กลาง ใต้

เหนือบน ตะวันออก

เหนือล่าง ตะวันตก

อีสานบน

คะแนนคณิตศาสตร์ 480 460 440 420 400 380 PISA 2003

PISA 2012

การรู้เรืองคณิ ตศาสตร์หมวดต่าง ๆ ของนักเรียนไทย 26. หมวดเนื5 อหาคณิ ตศาสตร์ ประกอบด้วยสีRด้าน โดยเฉลีRยนักเรียนไทยมีจุดอ่อนทีRสุดด้าน การเปลียนแปลงและความสัมพันธ์ รองลงมาเป็ นด้านปริมาณ สองด้านนีMมคี ะแนนตํRากว่าค่าเฉลีRย ประเทศ ส่วนด้านปริภูมแิ ละรูปทรงสามมิติ กับด้านความไม่แน่ นอนและข้อมูล มีคะแนนสูงกว่า ค่าเฉลียR ประเทศ

12 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

27. หมวดกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ ค่าเฉลีRยนักเรียนไทยมีจุดอ่อนทีRสุดในกระบวนการ การคิดวิธกี าร หรือการคิดให้เป็ นคณิตศาสตร์ นันR คือ การคิดถึงปญั หาตามสถานการณ์ในบริบทให้ เป็ นวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ แต่นักเรียนจากกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยและโรงเรียนสาธิต มีจุดอ่อนด้านการตีความ ซึRงส่วนมากเป็ นการตีความ แปลความผลลัพธ์ทางคณิตศาสตร์ มาเป็ น ผลการแก้ปญั หาของโลกในชีวติ ประจําวัน ซึงR โรงเรียนทังM สองกลุ่มมีจดุ อ่อนเหมือนกัน

ความแตกต่างระหว่างเพศด้านคณิ ตศาสตร์ 28. ความแตกต่างทางคณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนชายกับนักเรียนหญิง เป็ นประเด็นทีนR านาชาติ ให้ความสนใจมากเรือR งหนึRงเพราะทังM สองเพศต่างเป็ นองค์ประกอบของการพัฒนาเศรษฐกิจในสังคม หนึRง ๆ ในอดีตพบว่า นักเรียนชายมีความสามารถสูงกว่านักเรียนหญิง ซึงR ช่องว่างของความแตกต่าง กว้างมาก โดยเฉพาะอย่างยิงR ในสังคมแบบตะวันตกจนนํ าไปสู่สมมติฐานว่าเป็ นเพราะปจั จัยทาง ชีววิทยา (เช่น การเจริญของสมองซีกซ้าย-ขวา) อย่างไรก็ตามแนวโน้ มในระยะหลังข้อ มูล เริมR เปลียR นไปทังM ในด้านช่องว่างทีแR คบลงหรือทิศทางของความแตกต่างทีโR น้มเอียงไปทางนักเรียนหญิง 29. PISA 2012 พบว่า ค่าเฉลียR ในระดับนานาชาติ นักเรียนชายมีคะแนนสูงกว่านักเรียนหญิง (11 คะแนน) แต่ความแตกต่างไม่เป็ นทิศทางเดียวเหมือนอย่างทีเR คยเป็ นในอดีต ทังM นีMมหี ลายประเทศทีR นักเรียนหญิงมีคะแนนสูงกว่า โดยมากเป็ นประเทศร่วมโครงการทีไR ม่ใช่สมาชิก OECD 30. สําหรับนักเรียนไทย ความแตกต่างระหว่างเพศใน PISA 2012 มีผลตรงกันข้ามกับค่าเฉลียR นานาชาติ นักเรียนหญิงมีค ะแนนคณิตศาสตร์เ ฉลีRยสูง กว่านักเรียนชายอย่างมีนัยสําคัญ โดยมี ช่องว่างของความแตกต่าง (คะแนนนักเรียนชาย – คะแนนนักเรียนหญิง) -14 คะแนน และนักเรียน หญิงมีคะแนนสูงกว่าในหมวดเนืMอหาทุกด้าน และหมวดกระบวนการทุกกระบวนการ 31. นักเรียนไทยทีมR คี ะแนนตํRาเกินไปจนจัดระดับไม่ได้ (ไม่ถงึ ระดับ 1) เป็ นนักเรียนชายมากกว่า นักเรียนหญิง (ชาย 22% และหญิง 17%) ส่วนนักเรียนทีรR คู้ ณิตศาสตร์ไม่ถงึ ระดับ 2 เป็ นนักเรียน ชาย 54% และนักเรียนหญิง 46% สําหรับสัดส่วนของนักเรียนทีรR คู้ ณิตศาสตร์ทรRี ะดับสูงไม่แตกต่าง กัน

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 13

ผลการประเมินการรูเ้ รืองการอ่าน 32. การอ่ านเป็ นการประเมินรองใน PISA 2012 เซีRยงไฮ้-จีนมีคะแนนสูงสุด สิบประเทศ/เขต เศรษฐกิจทีมR คี ะแนนสูงสุดเรียงตามลําดับดังนีM เซียR งไฮ้-จีน (570) ฮ่องกง-จีน (545) สิงคโปร์ (542) ญีRปุ่น (538) เกาหลี (536) ฟิ นแลนด์ (524) ไอร์แลนด์ (523) จีนไทเป (523) แคนาดา (523) และโปแลนด์ (518) 33. นักเรียนไทยมีคะแนนเฉลีRยการอ่ าน 441 คะแนน มีส ญ ั ญาณทางบวกทีRชMีว่า การอ่ านของ นักเรียนไทยหยุดตกตํRาลง นับจาก PISA 2009 นักเรียนไทยก็มคี ะแนนเฉลียR สูงขึนM อย่างมีนัยสําคัญ (21 คะแนน) แม้กระนันM ก็ตามคะแนนยังตํRากว่าค่าเฉลียR OECD เกือบหนึRงระดับ และอยู่ในกลุ่ม เดียวกับนักเรียนจากเซอร์เบีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชิล ี คอสตาริกา โรมาเนีย และบัลแกเรีย 34. นัก เรียนทีRมกี ารอ่านระดับตํRาหรือ ไม่ถ งึ ระดับพืMนฐานจากประเทศ/เขตเศรษฐกิจในเอเชีย อาจแบ่งได้เป็ นสองกลุ่ม คือ กลุ่มประเทศทีมR นี ักเรียนทีรR ะดับตํRาน้อย ได้แก่ ประเทศเอเชียทีมR คี ะแนน สูง เช่น เซียR งไฮ้-จีน ฮ่องกง-จีน เกาหลี เวียดนาม ญีRปุ่น และสิงคโปร์ มีอยู่ในช่วงร้อยละ 3 – 10 เท่านันM และค่าเฉลีRย OECD อยู่ทRี 18% ส่วนกลุ่มประเทศทีRมนี ักเรียนระดับตํRามาก ได้แ ก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย เรียงลําดับตามสัดส่วนทีมR นี ้อยทีสR ุดจนถึงมากทีสR ุด รูป 11 ร้อยละของนักเรียนนานาชาติทแRี สดงสมรรถนะการอ่านไม่ถงึ ระดับพืนM ฐาน % นักเรียน

aa

60 50 40 30 20 10 0

14 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

35. นักเรียนไทยกลุ่มทีRมกี ารอ่านตํRากว่าระดับพืMนฐาน (ไม่ถงึ ระดับ 2) ยังคงมีอยู่ถงึ หนึRงในสาม (33%) ซึงR มากกว่าค่าเฉลียR นานาชาติ แต่กถ็ อื ได้ว่า เป็ นสัญญาณทีดR เี พราะนักเรียนกลุ่มทีมR กี ารอ่าน ตํRามีสดั ส่วนลดลง 6% จาก PISA 2009 อย่างไรก็ตามสัดส่วนนีMยงั คงมากเกินไป เพราะประเทศ เอเชียทีมR คี ะแนนสูง เช่น เซียR งไฮ้-จีนมีสดั ส่วนน้อยทีสR ุด (3%) ฮ่องกง-จีน (7%) เกาหลี (8%) และ สิงคโปร์ ญีปR นุ่ และเวียดนามมีสดั ส่วนใกล้เคียงกัน (10%) 36. นักเรียนไทยทีRมคี วามสามารถในการอ่ านตังM แต่ ระดับพืMนฐานขึMนไป มีประมาณสองในสาม (67%) ซึงR มีสดั ส่วนเพิมR ขึนM จาก PISA 2009 ทีมR มี ากกว่าครึงR เพียงเล็กน้อย (57%) แต่ประเทศ เอเชียทีมR คี ะแนนกลุ่มบนสุด เช่น เซียR งไฮ้-จีน ฮ่องกง-จีน สิงคโปร์ ญีRปุ่น และเกาหลี มีถงึ ร้อยละ 90 ขึนM ไป และค่าเฉลียR OECD อยูท่ Rี 82% 37. นักเรียนไทยทีRมคี วามสามารถในการอ่านสูงกว่าระดับพืMนฐานมีประมาณหนึRงในสาม (31%) ในขณะทีRประเทศเอเชียทีRมคี ะแนนสูง เช่น เซีRยงไฮ้-จีน ฮ่องกง-จีน สิงคโปร์ ญีRปุ่น และเกาหลี มี นักเรียนทีRสูงกว่าระดับพืMนฐานขึนM ไปมากกว่านักเรียนไทยอย่างน้ อยสองเท่า กล่าวคือ อยู่ในช่วง ร้อยละ 86 ถึง 73 38. ความสามารถในการอ่านทีรR ะดับสูง (ระดับ 5 และ 6) เกือบไม่มนี ักเรียนไทยทีมR คี วามสามารถ อยู่ในระดับนีM (0.9%) ในขณะทีRประเทศเอเชียทีRมคี ะแนนสูง มีนัก เรียนกลุ่มนีM ใ นสัด ส่ว นสูง เช่น เซีRยงไฮ้-จีน (25%) ฮ่องกง-จีน (17%) สิงคโปร์ (21%) ญีRปุ่น (18%) เกาหลี (14% ) และเวียดนาม (5%)

แนวโน้ มการรู้เรืองการอ่านของนักเรียนไทยต่างกลุ่มโรงเรียน 39. กลุ่มโรงเรียนทีนR กั เรียนมีคะแนนการอ่านสูงกว่าค่าเฉลียR OECD คือ นักเรียนจากกลุ่มโรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย กับกลุ่มโรงเรียนสาธิต ส่วนโรงเรียนกลุ่มอืRน ๆ มีคะแนนตํRากว่าค่าเฉลียR OECD ทังM หมด ได้แก่ กลุ่มโรงเรียน สพฐ.2 โรงเรียนเอกชน (สช.) โรงเรียนเทศบาล (กศท.) โรงเรียน ขยายโอกาส (สพฐ.1) โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ และ โรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาของเอกชน ตามลําดับ 40. คะแนนเฉลียR การอ่านของนักเรียนไทย มีพสิ ยั ตังM แต่กลุ่มบนสุดจนถึงตํRาสุดบนสเกลนานาชาติ นักเรียนไทยกลุ่ มคะแนนสูง สุด กับกลุ่มคะแนนตํR าสุ ดมีช่องว่างกว้างมากกว่าสองระดับครึRง หรือ เท่ากับการเรียนทีแR ตกต่างกันถึงสามปี

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 15

41. เปรียบเทียบคะแนนกลุ่มโรงเรียนต่าง ๆ กับคะแนนเฉลียR ของประเทศในโครงการได้ดงั นีM ก. กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย (คะแนน 554) กับกลุ่มโรงเรียนสาธิต (คะแนน 526) ทังM สองกลุ่มนีMมคี ะแนนเท่ากับประเทศในกลุ่มสิบประเทศบน (Top ten) สําหรับกลุ่ม โรงเรียนสาธิตมีคะแนนคงทีเR มือR เทียบกับ PISA 2009 ข. กลุ่มโรงเรียน สพม. หรือ สพฐ.2 (คะแนน 460) มีคะแนนเพิมR ขึนM 24 คะแนน จาก PISA 2009 และมีคะแนนเฉลียR ใกล้เคียงกับสาธารณรัฐสโลวัค ค. กลุ่มโรงเรียนสามัญ เอกชน (คะแนน 437) คะแนนเพิมR ขึนM 10 คะแนน จาก PISA 2009 และมีคะแนนเฉลียR ใกล้เคียงกับโรมาเนีย และบัลแกเรีย ง. กลุ่มโรงเรียน กศท. (คะแนน 425) คะแนนเพิมR ขึนM 22 คะแนน และมีคะแนนเฉลียR ใกล้เคียง กับเม็กซิโก และมอนเตเนโกร จ. กลุ่มโรงเรียนขยายโอกาส หรือ สพฐ.1 (คะแนน 422) คะแนนเพิมR ขึนM ถึง 41 คะแนน จาก PISA 2009 ซึงR เป็ นกลุ่มทีมR คี ะแนนเพิมR ขึนM มากทีRสุด แต่เนืRองจากคะแนนการอ่านกลุ่มนีM เคยตํRามาก แม้คะแนนจะเพิมR ขึนM มาก แต่ก็ยงั ไม่สูงเมืRอเทียบกับกลุ่มอืRน กลุ่ม สพฐ.1 มีคะแนนเฉลียR ใกล้เคียงกับเม็กซิโก และมอนเตเนโกร ฉ. โรงเรียน กทม. (คะแนน 407) คะแนนลดลง 4 คะแนน และมีคะแนนเฉลียR ใกล้เคียงกับ บราซิล ตูนิเซีย โคลอมเบีย เป็ นต้น ช. กลุ่มทีRมคี ะแนนตํRาสุดเป็ นกลุ่มโรงเรียนและวิทยาลัยอาชีวศึกษาทังM ของรัฐและเอกชน กลุ่มวิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ (คะแนน 397) เพิมR ขึนM เพียง 3 คะแนน ซึงR ไม่มนี ัยสําคัญ ทางสถิติ จึงถือว่าไม่เปลียR นแปลง และโรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาของเอกชน (คะแนน 383) ลดลง 20 คะแนน กลุ่มนีMมคี ะแนนเท่ากับกลุ่มทีมR คี ะแนนตํRาทีสR ุดบนสเกลนานาชาติ เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย อาร์เจนตินา แอลเบเนีย เปรู กาตาร์ เป็ นต้น

16 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

แนวโน้ มการรู้เรืองการอ่านของนักเรียนไทย 42. ความแตกต่างระหว่างนักเรียนกลุ่มสูงกับกลุ่มตํRาในการประเมินการอ่านครังM แรก (PISA 2000) มีช่องว่างกว้างมาก แต่ช่องว่างค่อย ๆ แคบลงตามเวลาจนแตกต่างกันไม่มากนัก อย่างไรก็ตาม ส่วนหนึRงของช่อ งว่างทีRแคบลงนันM เกิดจากการทีRนักเรียนกลุ่มสูง มีผลการประเมินลดตํRาลงเข้ามา ใกล้กบั กลุ่มตํRาซึงR เป็ นสิงR ทีไR ม่ควรเกิดขึนM รูป 12 แนวโน้มคะแนนการอ่านของนักเรียนไทยกลุ่มสูงและกลุ่มตํRาจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 คะแนนการอ่าน 480

กลุ่มสูง แนวโน้ม(กลุ กลุ่ม่มสูสูงง) Linear

กลุ่มตํRา แนวโน้ม(กลุ กลุ่ม่มตํตํRาR า) Linear

460 440 420 400 380 360 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

43. แนวโน้มจาก PISA 2009 กลุ่มโรงเรียนทีมR คี ะแนนการอ่านเพิมR สูงขึนM เรียงลําดับตามคะแนนทีR สูงขึนM ได้แก่ กลุ่ม สพฐ.2 กลุ่ม สพฐ.1 กลุ่ม กศท. และกลุ่มโรงเรียน สช. นอกนันM คงทีหR รือลดลง

ความแตกต่างระหว่างเพศด้านการอ่าน 44. คะแนนการอ่านของนักเรียนหญิง (คะแนน 465) สูงกว่านักเรียนชาย (คะแนน 410) ถึง 55 คะแนน ซึงR มากกว่าครึงR ระดับ ความแตกต่างในครังM นีMมชี ่องว่างกว้างมากกว่า PISA 2009 ซึงR ครังM นันM ช่องว่างเป็ น 38 คะแนน ทังM นีMแม้ว่าทังM สองกลุ่มมีคะแนนสูงขึนM จาก PISA 2009 แต่นักเรียนหญิงมี คะแนนเพิมR ขึนM 27 คะแนน ส่วนนักเรียนชายเพิมR ขึนM เพียง 10 คะแนน สําหรับนักเรียนทีมR กี ารอ่าน ไม่ถึงระดับพืMนฐาน เป็ นนักเรียนชาย 49% ส่วนนักเรียนหญิงมีน้อยกว่าครึงR ของนักเรียนชาย คือ 21%

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 17

ผลการประเมินการรูเ้ รืองวิทยาศาสตร์ 45. ผลการประเมินวิทยาศาสตร์ในระดับนานาชาติ ปรากฏว่า คะแนนสิบอันดับแรก ได้แก่ ประเทศ/ เขตเศรษฐกิจ เซียR งไฮ้-จีน (580) ฮ่องกง-จีน (555) สิงคโปร์ (551) ญีRปุ่น (547) ฟิ นแลนด์ (545) เอสโตเนีย (541) เกาหลี (538) เวียดนาม (528) โปแลนด์ (526) และแคนาดาและลิกเตนสไตน์ (525) ซึงR ปรากฏว่า ในสิบอันดับแรกเป็ นประเทศ/เขตเศรษฐกิจในเอเชีย 6 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจ 46. คะแนนเฉลีRยวิทยาศาสตร์ของนัก เรียนไทยคือ 444 คะแนน เพิมR สูง ขึMนจาก PISA 2009 (คะแนน 425) อย่างมีนัยสําคัญ เมืRอ เทียบกับ PISA 2000 ก็พ บว่า มีแ นวโน้ มสูง ขึMน ดัง รูป 13 อย่างไรก็ตาม คะแนนยังคงตํRากว่าค่าเฉลีRย OECD มากกว่าครึRงระดับ รูป 13 แนวโน้มคะแนนวิทยาศาสตร์จาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 คะแนนวิทยาศาสตร์ 450

เฉลียประเทศ

445 440 435 430 425 420 415 410 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

47. นักเรียนทีRมผี ลการประเมินการรูเ้ รืRองวิทยาศาสตร์ระดับตํRาซึRงไม่ถงึ ระดับพืนM ฐาน ในบรรดา 11 ประเทศ/เขตเศรษฐกิจในเอเชีย อาจแบ่งได้เป็ นสองกลุ่ม คือ กลุ่มทีมR นี ักเรียนระดับตํRามากกว่า ค่าเฉลียR OECD (18%) มีสามประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย (67%) มาเลเซีย (46%) และไทย (34%) นอกนันM มีน้อยกว่าค่าเฉลีRย OECD ประเทศในเอเชียทีมR นี ักเรียนระดับตํRาน้อยทีสR ุด ได้แก่ เซียR งไฮ้-จีน (3%) ฮ่องกง-จีน (6%) เกาหลีและเวียดนาม (7%) ญีRปุ่น (8%) มาเก๊า-จีน (9%) และ จีนไทเปและ สิงคโปร์ (10%)

18 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

48. นักเรียนไทยกลุ่มทีRรูว้ ทิ ยาศาสตร์ตR ํากว่าระดับพืMนฐานยังคงมีอยู่ถงึ หนึRงในสาม (34%) ซึRง มากกว่าค่าเฉลีRยนานาชาติ แต่ก็ถอื ได้ว่า เป็ นสัญญาณทีRดเี พราะนักเรียนกลุ่มทีRมรี ะดับสมรรถนะ วิทยาศาสตร์ตR ํามีสดั ส่วนลดลงจาก PISA 2009 ถึง 9% อย่างไรก็ตามสัดส่วนนีMยงั คงมากเกินไป เพราะประเทศเอเชียกลุ่มคะแนนสูงมีนกั เรียนกลุ่มตํRาน้อยมาก 49. นักเรียนไทยกลุ่มทีRรวู้ ทิ ยาศาสตร์ถงึ ระดับพืMนฐานขึนM ไปมีประมาณสองในสาม ซึงR มีสดั ส่วน เพิมR ขึนM จาก PISA 2009 ประมาณ 10% (ส่วนประเทศเอเชียทีมR คี ะแนนสูง เช่น เซียR งไฮ้-จีน ฮ่องกงจีน สิงคโปร์ ญีRปุ่น เกาหลี มีถงึ ร้อยละ 90 ขึนM ไป) ในจํานวนนีMเป็ นนักเรียนไทยทีรR วู้ ทิ ยาศาสตร์สูง กว่าระดับพืนM ฐานประมาณ 29% และมีนักเรียนทีรR วู้ ทิ ยาศาสตร์ทรRี ะดับสูง (ระดับ 5 และ 6) เพียง 1% ในขณะทีRประเทศเอเชียทีRมคี ะแนนสูงมีนักเรียนกลุ่มนีMในสัดส่วนสูง เช่น เซียR งไฮ้-จีน (27%) สิงคโปร์ (23%) ญีปR นุ่ (18%) ฮ่องกง-จีน (17%) เกาหลี (12%) และเวียดนาม (8%)

แนวโน้ มการรู้เรืองวิ ทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยต่างกลุ่มโรงเรียน 50. กลุ่มโรงเรียนทีนR ักเรียนมีคะแนนวิทยาศาสตร์สูงกว่าค่าเฉลียR OECD คือ นักเรียนจากกลุ่ม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยกับกลุ่มโรงเรียนสาธิต นอกจากนันM มีคะแนนตํRากว่าค่าเฉลียR OECD ทังM หมด ได้แก่ กลุ่มโรงเรียน สพฐ.1 สพฐ.2 โรงเรียนเอกชน (สช.) โรงเรียนเทศบาล (กศท.) โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร (กทม.) วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ และโรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษา ของเอกชน ตามลําดับ 51. คะแนนเฉลีRย วิท ยาศาสตร์ของนัก เรีย นไทยมีพ สิ ยั ตังM แต่ ก ลุ่ม บนสุด จนถึง ตํRา สุด บนสเกล นานาชาติ นัก เรียนไทยกลุ่มคะแนนสูง สุด กับกลุ่มตํRาสุด มีช่อ งว่า งกว้า งมากกว่า สองระดับ ครึRง เช่นเดียวกับการอ่ าน และคณิตศาสตร์ ซึRงเท่ากับนักเรียนทีRมกี ารเรียนทีRแตกต่ างกันถึงสามปี 52. เปรียบเทียบคะแนนกลุ่มโรงเรียนต่าง ๆ กับคะแนนเฉลียR ของประเทศต่าง ๆ ในโครงการได้ดงั นีM ก. กลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย (คะแนน 565) กับกลุ่มโรงเรียนสาธิต (คะแนน 533) ทังM สองกลุ่มนีMมคี ะแนนเท่ากับประเทศในกลุ่มสิบประเทศบน (Top ten) ทังM นีMกลุ่มโรงเรียน สาธิตมีคะแนนเฉลียR ไม่เปลียR นแปลงเมืRอเทียบกับ PISA 2009 ส่วนกลุ่มโรงเรียนจุฬาภรณ ราชวิทยาลัยเพิงR มีการแยกกลุ่มประเมินผลเป็ นครังM แรกใน PISA 2012

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 19

ข. กลุ่มโรงเรียน สพป. หรือ สพฐ.1 (คะแนน 472) กลุ่มนีMมคี ะแนนเพิมR ขึนM จาก PISA 2009 มากทีRสุดถึง 77 คะแนน หรือมากกว่าหนึRงระดับ และมีคะแนนใกล้เคียงกับสาธารณรัฐ สโลวัก ไอซ์แลนด์ อิสราเอล และกรีซ ค. กลุ่มโรงเรียน สพม. หรือ สพฐ.2 (คะแนน 456) กลุ่มนีMมคี ะแนนเพิมR ขึนM 15 คะแนน สพฐ.2 มีคะแนนเฉลียR อยูร่ ะหว่างตุรกีกบั สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ง. กลุ่มโรงเรียนสามัญ เอกชน (คะแนน 437) มีคะแนนเพิมR ขึนM 13 คะแนน คะแนนเฉลีRย ของ สช. ใกล้เคียงกับไซปรัส บัลแกเรีย และโรมาเนีย จ. กลุ่มโรงเรียน กศท. (คะแนน 426) มีคะแนนเพิมR ขึนM 21 คะแนน และมีคะแนนใกล้เคียง กับคาซัคสถาน คอสตาริกา และมาเลเซีย ฉ. โรงเรียน กทม. (คะแนน 415) มีคะแนนเพิมR ขึนM 2 คะแนน ใกล้เคียงกับเม็กซิโก อุรุกวัย และจอร์แดน ช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาของรัฐ (คะแนน 412) มีคะแนนเพิมR ขึนM 16 คะแนน มีคะแนนใกล้เคียง กับเม็กซิโก และมอนเตเนโกร ซ. โรงเรียน/วิทยาลัยอาชีวศึกษาของเอกชน (คะแนน 386) คะแนนลดลง 12 คะแนน มี คะแนนใกล้เคียงกับกลุ่มตํRาสุดบนสเกลนานาชาติ เช่น อินโดนีเซีย กาตาร์ เป็ นต้น

แนวโน้ มการรู้เรืองวิ ทยาศาสตร์ของนักเรียนไทยต่างพื5นที 53. นักเรียนจากพืMนทีRทRมี คี ะแนนสูงสุดกับตํRาสุดมีคะแนนห่างกันมากกว่าครึRงระดับ หรือเท่ากับ การเรียนรู้ทRตี ่ างกันหนึRงปี และในขณะทีRระบบการศึกษาเป็ นกังวลกับผลการเรียนรู้ของนัก เรียน ภาคใต้กบั ภาคอีสานตอนล่าง ซึงR เคยเป็ นกลุ่มทีอR ่อนด้อยทีสR ุดในการประเมินครังM ก่อน ๆ แต่สองกลุ่ม นีMมคี ะแนนเพิมR ขึนM อย่างมีนยั สําคัญ อย่างไรก็ตาม ระบบฯ อาจมองข้ามนักเรียนภาคกลาง (ทีไR ม่รวม กรุงเทพฯ และปริมณฑล) ซึงR กลายเป็ นกลุ่มคะแนนตํRา จนครังM นีMคะแนนตํRากว่าภาคอีสานตอนล่าง 54. นักเรียนทุกภาคพืนM ทีมR คี ะแนนเพิมR ขึนM จาก PISA 2009 กลุ่มทีเR พิมR มากทีสR ุด คือ นักเรียนจาก ภาคเหนือ ตอนล่าง ซึRงมีคะแนนเพิมR ขึนM มากกว่าครึงR ระดับ ส่วนกลุ่มอืRนเพิมR ขึนM ตํRากว่าครึงR ระดับ ยกเว้นนักเรียนจากภาคเหนือตอนบนทีไR ม่เปลียR นแปลง

20 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

รูป 14 การเปลียR นแปลงคะแนนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนตามพืนM ทีใR น PISA 2009 และ PISA 2012 กทม.+ อีสานล่าง

กลาง ใต้

เหนือบน ตะวันออก

เหนือล่าง ตะวันตก

อีสานบน

คะแนนวิทยาศาสตร์ 480 465 450 435 420 405 390 PISA 2009

PISA 2012

55. แนวโน้ มจาก PISA 2006 ซึRงเป็ นการประเมินทีRเน้ นวิทยาศาสตร์เป็ นหลักนันM นักเรียนจาก ทุกภาคพืMนทีRมคี ะแนนเพิมR สูง ขึMน ยกเว้นนัก เรียนจากเขตกรุง เทพฯ และปริมณฑล (กทม.+) มี การประเมินลดตํRาลงเล็กน้อยหรืออาจถือได้ว่าไม่เปลียR นแปลง รูป 15 การเปลียR นแปลงคะแนนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนตามพืนM ทีใR น PISA 2006 และ PISA 2012 กทม.+ อีสานล่าง

กลาง ใต้

เหนือบน ตะวันออก

เหนือล่าง ตะวันตก

อีสานบน

คะแนนวิทยาศาสตร์ 480 465 450 435 420 405 390 PISA 2006

PISA 2012

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 21

ความแตกต่างระหว่างเพศด้านวิ ทยาศาสตร์ 56. ใน PISA 2009 นักเรียนหญิงมีคะแนนสูงกว่านักเรียนชายอยู่ 13 คะแนน แต่ใน PISA 2012 นักเรียนหญิงมีคะแนนสูงกว่านักเรียนชาย โดยมีช่องว่างกว้างขึนM เป็ น 19 คะแนน ทังM นีM นักเรียนชาย มีคะแนนเพิมR ขึนM 15 คะแนน ส่วนนักเรียนหญิงมีคะแนนเพิมR สูงขึนM 21 คะแนน

สรุปและนัยทางการศึกษา ในระดับนานาชาติ 57. โครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA มีเป้าหมายหลักเพืRอให้ขอ้ มูลแก่รฐั บาลเพืRอใช้ พิจารณาประกอบการจัดการศึกษา ผลการศึกษาของ PISA จะบอกให้ทราบว่า ระบบการศึกษาได้ เตรียมความพร้อมสําหรับนักเรียนทีจR ะดําเนินชีวติ และมีส่วนสร้างสรรค์สงั คมมากน้อยเพียงใด และ PISA ยังให้ขอ้ มูลต่าง ๆ ทีเR ป็ นประโยชน์ต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาอีกด้วย 58. ผลการประเมิน PISA 2012 แสดงให้เห็นว่า คุณภาพการศึกษาไทยแม้จะยังห่างไกลจาก ความเป็ นเลิศเมืRอเทียบกับประเทศเอเชียตะวันออก แต่กม็ ปี ระจักษ์พยานว่า ความตกตํRาได้หยุดลง และการยกระดับได้เริมR ปรากฏใน PISA 2009 และยืนยันอีกใน PISA 2012 59. ระยะเวลาสามปี หลังจากการปฏิรูปการศึกษาเมืRอ พ.ศ.2542 การประเมินใน PISA 2003 ผลการประเมินของนักเรียนไทยลดตํRาลงอย่างมาก และลดลงต่อเนืRอง (การอ่านและวิทยาศาสตร์) หรือคงทีอR ยู่ในระดับตํRา (คณิตศาสตร์) และเป็ นเช่นนีMกบั ทุกวิชา และเป็ นกับนักเรียนทุกกลุ่มไม่เว้น แม้แต่กลุ่มโรงเรียนสาธิตซึงR มีคะแนนสูง และทุกวิชาเริมR หยุดลดตํRาใน PISA 2009 และสูงขึนM ชัดเจน ใน PISA 2012 รูป 16 แนวโน้มผลการประเมินของนักเรียนไทยจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 คะแนน 450 445 440 435 430 425 420 415 410 PISA 2000

การอ่าน

คณิตศาสตร์

PISA 2003

PISA 2006

22 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

วิทยาศาสตร์

PISA 2009

PISA 2012

60. สิงR ทีเR รียนรูจ้ ากข้อมูลนีMชใMี ห้เห็นว่า เมืRอระบบการศึกษามีการเปลีRยนแปลงทังM ระบบย่อมทําให้ ั R ว่ นทังM ระบบ และต้องใช้เวลานานกว่าจะปรับตัวได้ และข้อมูลชีวM ่า การศึกษาไทยกําลัง เกิดความปนป เดินไปในทิศทางบวก ดังนันM การเปลียR นแปลงใด ๆ ทีจR ะเกิดขึนM ในระยะนีMจงึ ควรพิจารณาทบทวนถึง ผลกระทบทีจR ะทําให้เกิดความตกตํRาดังเช่นในรอบทีผR ่านมาอีกครังM อนึRงการเปลียR นแปลงใด ๆ ควรอยู่ บนฐานของข้อมูล ไม่ใช่จากความคิดเห็น เพราะมิฉะนันM จะไม่อาจสร้างความไว้วางใจต่อสาธารณะ และผูม้ สี ่วนเกียR วข้อง 61. แม้ว่าระบบการศึกษาโดยทัวไปจะมี R เป้าหมายในการสร้างความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ซึRงไม่ใช่เพียงโอกาสในการเข้าโรงเรียน แต่ หมายถึงความเท่าเทียมกันในคุณภาพการเรียนรูด้ ้วย ผลการประเมินชีMว่า นัก เรียนไทยกลุ่มสูง และกลุ่มตํRาเคยมีค วามแตกต่างในช่องว่างทีRกว้างมาก และมีนัยทางบวกเมืRอพบว่า ช่องว่างของความแตกต่างเริมR แคบลงเรืRอย ๆ ตามเวลาทีRผ่านไป ซึRง เป็ นทิศทางทีRระบบฯ ต้องการ แต่ ในความเป็ นจริงช่องว่างทีRแคบลงไม่เพียงแต่ กลุ่มตํRามีคะแนน สูงขึนM แต่พบว่า นักเรียนกลุ่มสูงมีคะแนนลดตํRาลงด้วยซึงR เป็ นทิศทางทีไR ม่พงึ ปรารถนา รูป 17 แนวโน้มทีลR ดลงของนักเรียนไทยกลุ่มสูงจาก PISA 2000 ถึง PISA 2012 การอ่าน Linear แนวโน้ม(การอ่ การอ่าาน) น

คณิตศาสตร์ แนวโน้ Linear ม(คณิ คณิตศาสตร์)

วิทยาศาสตร์ แนวโน้ Linear ม(วิวิทยาศาสตร์)

คะแนน 600 580 560 540 520 500 480 460 PISA 2000

PISA 2003

PISA 2006

PISA 2009

PISA 2012

62. นัก เรียนทังM กลุ่ม สูง และกลุ่มตํRา มีจุด อ่ อ นทีRก ารอ่ านทังM สองกลุ่ม และทีRสํา คัญ การอ่ านมีค่า สหสัมพันธ์กบั คณิตศาสตร์สูงมาก (0.79 ใน PISA 2009 และ 0.80 ใน PISA 2012) และค่าสหสัมพันธ์ ใกล้เคียงกับวิทยาศาสตร์ เมืRอคุณภาพการอ่านตํRา จึงทําให้วชิ าอืRนมีคะแนนตํRาไปด้วย ระบบการศึกษา จําเป็ นต้องเร่งปรับปรุงยกระดับคุณภาพการอ่านของนักเรียน

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 23

63. ข้อมูลชีจM ุดแข็งและจุดอ่อนทีชR ่วยให้ระดับนโยบายใช้เป็ นข้อมูลในการจัดการศึกษา จุดแข็ง ทีพR บ เป็ นต้นว่า ระบบการเรียนการสอนในโรงเรียนกลุ่มคะแนนสูงน่ าจะเป็ นตัวแบบ (Model) ของ การเรียนการสอนของโรงเรียนทัวไป R จุดแข็งอีกจุดหนึRง คือ การทีRนักเรียนโรงเรียนขยายโอกาส (สพฐ.1) มีคะแนนสูงขึนM มาก แสดงว่า ระบบฯ ทํางานได้ดใี นชนบทในระยะหลัง จึงน่ าจะได้มกี ารศึกษา ในรายละเอียดว่าเกิดอะไรขึนM เพืRอว่าจะสามารถใช้เป็ นตัวแบบในการยกระดับคุณภาพการศึกษา 64. ข้อมูลชีจM ดุ อ่อนอีกหลายจุดทีรR ะบบสามารถจัดการกับตัวแปรนันM ๆ ได้ตรงเป้าหมาย อย่างไร ก็ตามข้อมูลไม่ได้ชMวี ่า หลักสูตรเฉพาะวิชาเป็ นเป้าหมายทีRต้องเปลีRยนแปลง ยกเว้นทักษะการใช้ ภาษาทีRผลการประเมินชีMว่า เป็ นจุดอ่อน และเนืRองจากทักษะทางภาษามีค่าสหสัมพันธ์สูงมากกับ ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (0.79 กับคณิตศาสตร์ และ 0.82 กับวิทยาศาสตร์ ใน PISA 2012) ดังนันM จึงเป็ นความจําเป็ นเร่งด่วนทีจR ะต้องยกระดับคุณภาพการเรียนการสอนด้านภาษา โดยไม่ต้อง เปลีRยนหลักสูตรใหม่ทงั M ระบบ เพราะอย่างน้ อยทีสR ุดโรงเรียนกลุ่ม สพป. (สพฐ.1) กําลังก้าวหน้ าไป ถูกทิศ หากมีการเปลียR นแปลงใหญ่อกี อาจจะต้องใช้เวลานานกว่าจะเดินถูกทาง 65. ผลการประเมินชีMให้เห็นว่า ประเทศไทยมีระบบการศึกษาทีRดอี ยู่แ ล้วในบริบทไทยเอง ซึRง สามารถทําให้นกั เรียนมีผลการประเมินสูง ซึงR ประเทศไทยทําได้เองโดยไม่ตอ้ งใช้มอื ต่างชาติ เพียงแต่ ระบบเหล่านันM ถูกกระจุกตัวอยู่เฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะพืนM ทีเR ท่านันM ถ้าระดับนโยบายสามารถขยาย ระบบดัง กล่าวไปสู่โ รงเรียนทัวประเทศ R โรงเรียนในชนบท ไปสู่นัก เรียนและโรงเรียนทีRมสี ถานะ เศรษฐกิจสัง คมและวัฒนธรรมตํR า เมืRอ นันM ประเทศไทยจะมีผลการประเมินเทียมบ่าเทียมไหล่ก ับ นานาชาติ 66. ข้อมูลทีรR ายงานมาทังM ใน PISA ครังM นีMและครังM ก่อนชีจM ุดทีRรฐั สามารถจัดการเพืRอการยกระดับ คุณภาพการศึกษาได้ตรงจุด หรือเฉพาะจุด โดยไม่จาํ เป็ นต้องเปลียR นแปลงทังM ระบบ เพราะประเทศชาติ เคยได้ประสบการณ์เช่นนันM มาแล้ว และคงไม่ตอ้ งการให้เหตุการณ์เกิดขึนM ซํMาอีก

....................................................................................................................................................

24 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

อ้างอิง Fensham, P.J. (1986), Lessons from Science Education in Thailand: A Case Study of Gender and Learning in the Physical Sciences, Research in Science Education, Vol.16, No.1, pp. 92-100. Fensham, P.J. (2002), Time to Change Drivers for Scientific Literacy, Canadian Journal of Science, Mathematics, and Technology Education, Vol.2, No.1, pp. 9-24. Fensham, P.J. (2009), The Link between Policy and Practice in Science Education: The Role of Research, Science Education, Vol.93, No.6, pp.1076-1095. Fry, G.W. (2002), Synthesis Report: From Crisis to Opportunity, The Challenges of Educational Reform in Thailand, Report to ONEC and ADB as part of TA 3585-THA. OECD (2001), Knowledge and Skills for Life: First Results from PISA 2000. OECD Publishing, Paris. OECD (2004), Learning for Tomorrow’s World: First Results from PISA 2003. OECD Publishing, Paris. OECD (2007a), PISA 2006 Science Competencies for Tomorrow’s World: Volume 1 – Analysis, OECD Publishing, Paris. OECD (2007b), PISA 2006: Volume 2 – Data, OECD Publishing, Paris. OECD (2010a), PISA 2009 Results: What Students Know and Can Do – Student Performance in Reading, Mathematics and Science, (Vol. I), OECD Publishing, Paris. OECD, (2010b), PISA 2009 Results: Overcoming Social Background – Equity in Learning Opportunities and Outcomes, (Vol. II), OECD Publishing, Paris. OECD (2013), PISA 2012 Assessment and Analytical Framework: Mathematics, Reading, Science, Problem Solving and Financial Literacy, OECD Publishing, Paris. OECD and UNESCO Institute for Statistics (2003), Literacy Skills for the World of Tomorrow- Further Results from PISA 2000. OECD Publishing, Paris. Yeap Ban Har (2010), National Institute of Education, Nanyang Technological University, Singapore. Effective Learning Assessment Systems II: Using Assessments for Policy Dialogue. Paper Presented at Benchmarking for Results: World Bank Conference, June, 2010, Singapore. สสวท. (2547), ความรูแ้ ละทักษะของเยาวชนไทยสําหรับโลกวันพรุ่งนี: รายงานการวิจยั โครงการประเมินผลนักเรียน นานาชาติ PISA 2000 และ PISA Plus. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิมพ์เผยแพร่. สสวท. (2549), การเรียนรูเ้ พือโลกวันพรุง่ นี: รายงานการประเมินผลการเรียนรูจ้ าก PISA 2003. สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิมพ์เผยแพร่. สสวท. (2551), ความรูแ้ ละสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์สําหรับโลกวันพรุง่ นี: รายงานจากการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ PISA 2006, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิมพ์เผยแพร่. สสวท. (2553), ผลการประเมิน PISA 2009 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์: บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร, สถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิมพ์เผยแพร่. สสวท. (2554), ผลการประเมิน PISA 2009 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พิมพ์เผยแพร่.

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 25

คณะทํางานโครงการ PISA 2012 ทีRปรึกษา นางพรพรรณ ไวทยางกูร

ผูอ้ าํ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

คณะทํางาน นางสุนีย์ คล้ายนิล นายปรีชาญ เดชศรี นางสาวสุพตั รา ผาติวสิ นั ติ ‚ นายประสงค์ เมธีพนิ ิตกุล นายดนัย ยังคง นางชมัยพร ตังM ตน นางนิตยาพร บุญญาศิริ น.อ.หญิงอัมพลิกา ประโมจนีย์ นางสาวนันทวัน นันทวนิช นางสาวประวีณา ติระ นางสุชาดา ปทั มวิภาต นายเอกรินทร์ อัชชะกุลวิสทุ ธิ ‚ นางพัชรินทร์ อารมณ์สาวะ นางเกตุวดี จังวัฒนกุล นางสาวจุฑามาส สรุปราษฏร์ นายเตชทัต เรืองธรรม นายวิโรจน์ ลิวR คงสถาพร นายอนุชติ อารมณ์สาวะ นายชยุตม์ ภิรมย์สมบัติ นายจตุพล งามแม้น นายศราวุฒิ รัตนประยูร นางสาวศศิวรรณ เมลืองนนท์ นางจันทนา ชืRนรุ่ง นางสาวสุชาดา ภุมรินทร์

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

26 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

คําสังสถาบั R นส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทีR ๓๗/๒๕๕๕ เรือR ง แต่งตังM คณะกรรมการอํานวยการโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA 2012) ______________________ ด้วยสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้ร่วมมือกับองค์การเพืRอ ความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (The Organisation for Economic Co-operation and Development: OECD) ดําเนินงานโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA) โครงการนีMมจี ุดมุ่งหมายจะศึกษาว่าระบบการศึกษาของประเทศได้เตรียมเยาวชน ของชาติให้พร้อมสําหรับอนาคตหรือไม่ เพียงใด โดยประเมินความรูแ้ ละทักษะของนักเรียนทีมR อี ายุ ๑๕ ปี ในด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ขณะนีMการดําเนินงานโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ รอบทีR ๒ ระยะทีR ๒ หรือ PISA 2012 ซึงR เน้นการประเมินด้านคณิตศาสตร์เป็ นหลัก เพืRอให้การดําเนินงาน เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามวัตถุประสงค์ จึงแต่งตังM คณะกรรมการอํา นวยการโครงการ ประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA 2012) ประกอบด้วย ๑) นายปรีชาญ เดชศรี ๒) ผูจ้ ดั การโครงการ PISA 2012 Thailand (นางสุนีย์ คล้ายนิล) ๓) ผูแ้ ทนสํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (นางสาวจุไรรัตน์ แสงบุญนํา) ๔) ผูแ้ ทนสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันM พืนM ฐาน (นางสาวไพรวัลย์ พิทกั ษ์สาลี) ๕) ผูแ้ ทนสํานักบริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (นางสาวชวนชม คําหอมกุล) ๖) ผูแ้ ทนสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (นางอรสา ภาววิมล) ๗) ผูแ้ ทนสํานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร (นายอุดมศักดิ ‚ นาดี) ๘) ผูแ้ ทนสํานักประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถินR (นางสาวแสงมณี มีน้อย)

ทีปR รึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร 27

๙) ผูแ้ ทนสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (นายอกนิษฐ์ คลังแสง) ๑๐) ผูแ้ ทนสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (นางสาวจิรพรรณ ปุณเกษม) ๑๑) น.อ.หญิงอัมพลิกา ประโมจนีย์ ๑๒) นายเอกรินทร์ อัชชะกุลวิสทุ ธิ ‚ ๑๓) นางสาวสุชาดา ไทยแท้ ๑๔) นางสาวพัชรินทร์ หาดทราย ๑๕) นางสาวสุชาดา ภุมรินทร์

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ

หน้ าทีR ให้คณะกรรมการอํานวยการฯ มีหน้าทีดR งั นีM ๑. ให้คาํ ปรึกษาและข้อเสนอแนะในการดําเนินงานโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (PISA 2012) ๒. ประสานงานการดําเนินงานโครงการฯ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป็ นไปตามเป้าหมายทีR กําหนด ๓. ประสานงานกับสํานักงานเขตพืนM ทีกR ารศึกษาและโรงเรียนในสังกัด ทังM นีM ตังM แต่บดั นีMเป็ นต้นไป สังR ณ วันทีR ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๕

(นางพรพรรณ ไวทยางกูร) ผูอ้ าํ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

28 ผลการประเมิ น PISA 2012 บทสรุปสําหรับผูบ้ ริหาร

ĸıĻĩD#đ!?L5*ĉ5 5F + :+#+8D) 1: 5:<2:):+D+=*)D*:/!G3ĊD#đ!&-D)?5=)L 0= 9 *(:&2;3+9" :+E ĉ 9!G!5!: 3+?5H)ĉ :+2;+/ 5ĸıĻĩD < >M!@ J2:)#āD&?L5G3Ċ Ċ5)A- /:) Ċ:/3!Ċ: 5 :+0> 1:5*ĉ:ĉ5D!?L5 ĸıĻĩ2;+/: !9 D+=*!5:*@ae#ā>L2: -?5/ĉ:D#đ!$AĊ=L" :+0> 1:(: "9 9"@D!Ċ! ?5 :+2;+//ĉ: !9 D+=*!2:):+!; /:)+AĊ HL= ĊD+=*!: F+D+=*!H#GĊG!=/< +<HĊD&=*G Ċ5)A-: ĸıĻĩ8"5 G3Ċ#+8D0G!F + :++:"/ĉ: @(:& 5+8"" :+0> 1:5*AĉG!+89"GD)?L5D=*" 9"#+8D05?L!J E-88"5 G3Ċ+:"> /:)D3)?5!E-8 /:)E ĉ: 9"-9 18 5+8"" :+0> 1: 5#+8D05?L!J 9M!=MF*)=D#ą:3):*D&?L5=M/ĉ:@ #+8D02:):+#+82" /:)2;D+KHĊ9M!9M! #+8D0H*HĊD Ċ:+ĉ/)F + :+):9MEĉ +9ME+ ŮĸıĻĩb```ů Ċ5)A-=M/ĉ:3-9D#-=L*!E#- :+#<+A# :+0> 1:D)?L5&Ŵ0Ŵbedb#+8D0H*)=$- :+#+8D)M!5*ĉ:9D!G!ĸıĻĩb`ab

2:"9!2ĉD2+<) :+25!/<*:0:2+čE-8D F!F-*=Ů22/Ŵů +8+/0> 1: < :+ +ĉ/) 9" ORGANISATION for ECONOMIC CO-OPERATION andĬĭľĭĴķĸĵĭĶļŮķĭīĬů

26.PISA-2012-Exexcutive-Summary.pdf

Page 3 of 34. 26.PISA-2012-Exexcutive-Summary.pdf. 26.PISA-2012-Exexcutive-Summary.pdf. Open. Extract. Open with. Sign In. Main menu. Displaying 26.

3MB Sizes 1 Downloads 233 Views

Recommend Documents

No documents